Category Archives: วัดโปรดเกษ

วัดโปรดเกษ

วัดโปรดเกษ is a position for activity in post to be presented at the 1st  rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

วัดโปรดเกษ Wat Phrot Ket ตั้งอยู่เลขที่ 74 หมู่ 2 ตำบลคลองพระอุดม อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

อำเภอปากเกร็ด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

สำหรับปากเกร็ด ในความหมายอื่น ดูที่ ปากเกร็ด (แก้ความกำกวม)
อำเภอปากเกร็ด
แผนที่จังหวัดนนทบุรี เน้นอำเภอปากเกร็ด
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°54′45″N 100°29′54″E
อักษรไทย อำเภอปากเกร็ด
อักษรโรมัน Amphoe Pak Kret
จังหวัด นนทบุรี
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด 89.023 ตร.กม. (34.372 ตร.ไมล์)
ประชากร (2561)
 • ทั้งหมด 247,384
 • ความหนาแน่น 2,778.88 คน/ตร.กม. (7,197.3 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 11120
รหัสภูมิศาสตร์ 1206
ที่อยู่
ที่ว่าการ
ที่ว่าการอำเภอปากเกร็ด
เลขที่ 70ข/2 หมู่ที่ 5 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ปากเกร็ด เป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอปากเกร็ดตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด และอยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศเหนือ 7.45 กิโลเมตร[2] มีพื้นที่การปกครองทั้งสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอลาดหลุมแก้วและอำเภอเมืองปทุมธานี (จังหวัดปทุมธานี) มีคลองสามวา คลองเจ๊ก คลองตรง (คลองขุด) คลองพระอุดม แนวระวางโฉนดที่ดินระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดปทุมธานี คลองบางตะไนย์ แนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองบ้านใหม่เป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตดอนเมืองและเขตหลักสี่ (กรุงเทพมหานคร) มีคลองประปาเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองนนทบุรี มีคลองบางตลาด แนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองวัดแดงเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอบางบัวทอง มีคลองแม่ร่องกร่าง คลองบางบัวทอง คลองขุนมหาดไทย (ท่าลาย) แนวกำแพงหมู่บ้านดิเอมเมอรัลด์การ์เด้นบางบัวทอง แนวกำแพงหมู่บ้านดิเอมเมอรัลด์พาร์ค 3 แนวกำแพงหมู่บ้านลภาวัน 10 คลองชลประทานพระอุดม-บางบัวทอง (คลองแอน) แนวระวางโฉนดที่ดินระหว่างอำเภอปากเกร็ดกับอำเภอบางบัวทอง คลองลำโพ และคลองลากค้อนเป็นเส้นแบ่งเขต

ที่มาของชื่ออำเภอ[แก้]

“ปากเกร็ด” เป็นคำประสมจากคำว่า “ปาก” ซึ่งสันนิษฐานว่าคงจะเนื่องมาจากชื่อวัดปากอ่าว และคำว่า “เกร็ด” ซึ่งมีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 ว่า “ห้วงน้ำแคบต่อจากห้วงน้ำใหญ่ทั้งสอง” ดังนั้น คำว่าปากเกร็ดจึงน่าจะหมายถึง “บริเวณผืนแผ่นดินที่เป็นปากอ่าว มีอาณาเขตติดต่อกับแม่น้ำใหญ่”[3]

อีกข้อสันนิษฐานหนึ่ง “ปากเกร็ด” อาจมีที่มาจากคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระเพื่อลัดแม่น้ำเจ้าพระยาตรงช่วงที่เริ่มไหลวกเข้าไปในคุ้งบางบัวทอง โดยในอดีตผู้คนจะเรียกคลองนี้ว่า “คลองเตร็ดน้อย”[4] และต่อมาเรียกว่า “คลองลัดเกร็ด” (หรือ “แม่น้ำลัดเกร็ด” ซึ่งทำให้เกิดเกาะเกร็ดขึ้นนั่นเอง) ส่วนบริเวณต้นคลองลัดนั้นก็เรียกว่า “ปากเกร็ด”[5]

ประวัติศาสตร์[แก้]

อำเภอปากเกร็ดในครั้งแรกมีฐานะเป็นแขวงเรียกว่า แขวงตลาดขวัญ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2427 และต่อมาก็ได้รับการยกฐานะเป็น อำเภอปากเกร็ด มีพระรามัญนนทเขตต์คดี (เนียม นนทนาคร) เป็นนายอำเภอคนแรก ตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ในที่ธรณีสงฆ์วัดสนามเหนือ ต่อมาจึงได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปตั้งที่หมู่ที่ 2 ตำบลปากเกร็ด ในสมัยที่หลวงรามัญนนทเขตต์คดี (เจ็ก นนทนาคร) บุตรชายของพระรามัญนนทเขตต์คดี (เนียม นนทนาคร) ขึ้นเป็นนายอำเภอ

เมื่อปี พ.ศ. 2463 กระทรวงนครบาลได้โอนตำบลอ้อมเกร็ด (เปลี่ยนชื่อมาจากตำบลบางบัวทอง) และตำบลบางพลับจากอำเภอบางบัวทอง กับโอนตำบลท่าอิฐจากอำเภอนนทบุรีมาขึ้นกับอำเภอ เพื่อความเหมาะสมด้านการปกครอง[6] ณ ปี พ.ศ. 2470 อำเภอปากเกร็ดจึงมีท้องที่การปกครองรวม 13 ตำบล ได้แก่ ตำบลบ้านปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบ้านใหม่ตลาดเนื้อ ตำบลสีกัน ตำบลสองห้อง (ทุ่งสองห้อง) ตำบลบางตลาดฝั่งเหนือ (บางตลาด) ตำบลเกาะเกร็ด ตำบลท่าอิฐ ตำบลอ้อมเกร็ด ตำบลบางพลับ ตำบลบ้านแหลมใหญ่ (คลองพระอุดม) ตำบลบางตะไนย์ และตำบลคลองข่อย[7]

เดิมอำเภอปากเกร็ดมีอาณาเขตทางด้านตะวันออกติดต่อกับอำเภอบางเขน จังหวัดพระนครโดยใช้คลองเปรมประชากรตั้งแต่คลองบางตลาดขึ้นไปจนถึงคลองบ้านใหม่ตลาดเนื้อเป็นเส้นแบ่งเขตเป็นเส้นแบ่งเขต[8] จนกระทั่งในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2475 ทางราชการได้โอนตำบลทุ่งสองห้องจากอำเภอปากเกร็ด (ซึ่งรวมพื้นที่ตำบลสีกันเดิมไว้ด้วย) พร้อมกับตำบลลาดโตนดจากอำเภอนนทบุรีไปอยู่ในท้องที่ปกครองของอำเภอบางเขน เพื่อเพิ่มความสะดวกในการตรวจตราของเจ้าหน้าที่และความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน[9] คลองประปาจึงกลายเป็นแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดทั้งสองแทนคลองเปรมประชากรมาจนถึงทุกวันนี้

จนกระทั่งในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2486 จังหวัดนนทบุรีถูกยุบลงเนื่องจากขณะนั้นเกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอปากเกร็ดย้ายไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร จนกระทั่งในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ได้มีการจัดตั้งจังหวัดนนทบุรีขึ้นมาอีกครั้ง[10] อำเภอปากเกร็ดจึงกลับมาอยู่ในการปกครองของทางจังหวัดนับแต่นั้น

ตลอดเวลาที่ผ่านมา มีการปรับปรุงเขตการปกครองระดับตำบลภายในท้องที่อำเภอปากเกร็ดอยู่เนือง ๆ เช่น ยุบตำบลบ้านใหม่ตลาดเนื้อรวมเข้ากับตำบลบางพูด ยุบตำบลบางพลับรวมเข้ากับตำบลอ้อมเกร็ด เป็นต้น จนกระทั่งในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 กระทรวงมหาดไทยได้เปลี่ยนแปลงเขตตำบลเดิมและตั้งตำบลใหม่อีกครั้ง โดยแยกพื้นที่บางส่วนจากตำบลปากเกร็ดตั้งเป็นตำบลบางตลาด แยกพื้นที่บางส่วนจากตำบลบางพูดตั้งเป็นตำบลบ้านใหม่ รวมพื้นที่บางส่วนจากตำบลบางตะไนย์และอ้อมเกร็ดตั้งเป็นตำบลคลองพระอุดม และแยกพื้นที่บางส่วนจากตำบลอ้อมเกร็ดตั้งเป็นตำบลบางพลับ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ปีเดียวกัน[11]

ต่อมาอำเภอปากเกร็ดได้มีการย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั้งริมถนนแจ้งวัฒนะ หมู่ที่ 5 ตำบลปากเกร็ด เมื่อปี พ.ศ. 2505 เพื่อให้ประชาชนมาติดต่อราชการได้สะดวกยิ่งขึ้น และในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศแยกพื้นที่ทางทิศตะวันออกของตำบลปากเกร็ดตั้งเป็นตำบลคลองเกลือ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม ปีเดียวกัน[12] ท้องที่อำเภอปากเกร็ดจึงประกอบด้วย 12 ตำบลจนถึงปัจจุบัน

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอปากเกร็ดแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 12 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้าน รวม 85 หมู่บ้าน (หรือ 51 หมู่บ้าน หากไม่นับรวมในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดซึ่งไม่มีตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว) ได้แก่

1. ปากเกร็ด (Pak Kret) 5 หมู่บ้าน 7. ท่าอิฐ (Tha It) 10 หมู่บ้าน
2. บางตลาด (Bang Talat) 10 หมู่บ้าน 8. เกาะเกร็ด (Ko Kret) 7 หมู่บ้าน
3. บ้านใหม่ (Ban Mai) 6 หมู่บ้าน 9. อ้อมเกร็ด (Om Kret) 6 หมู่บ้าน
4. บางพูด (Bang Phut) 9 หมู่บ้าน 10. คลองข่อย (Khlong Khoi) 12 หมู่บ้าน
5. บางตะไนย์ (Bang Tanai) 5 หมู่บ้าน 11. บางพลับ (Bang Phlap) 5 หมู่บ้าน
6. คลองพระอุดม (Khlong Phra Udom) 6 หมู่บ้าน 12. คลองเกลือ (Khlong Kluea) 4 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

เจดีย์เอียงที่วัดปรมัยยิกาวาส เกาะเกร็ด

ท้องที่อำเภอปากเกร็ดประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลนครปากเกร็ด ครอบคลุมพื้นที่อำเภอปากเกร็ดฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ได้แก่ ตำบลปากเกร็ด ตำบลบางตลาด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลบางพูด และตำบลคลองเกลือทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลบางพลับ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางพลับทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางตะไนย์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางตะไนย์ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองพระอุดม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองพระอุดมทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าอิฐ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าอิฐทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเกร็ด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะเกร็ดทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอ้อมเกร็ดทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองข่อย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองข่อยทั้งตำบล

การคมนาคม[แก้]

ถนนสายหลักของอำเภอ ได้แก่

ปัจจุบันอำเภอปากเกร็ดมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 2 แห่ง คือ สะพานนนทบุรี (สะพานนวลฉวี) เชื่อมระหว่างตำบลบ้านใหม่กับตำบลบางขะแยง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และสะพานพระราม 4 เชื่อมระหว่างตำบลปากเกร็ดกับตำบลบางตะไนย์และตำบลคลองพระอุดม

ท่าเรือ[แก้]

วัดโปรดเกษ หลังคา พียู ลายไม้

วัดโปรดเกษ หลังคาเมทัลชีท

วัดโปรดเกษ หลังคาเมทัลชีท : แผ่นเดียว ก็ขาย วัดโปรดเกษ […]

วัดโปรดเกษ แผ่นใสขาวขุ่น

วัดโปรดเกษ แผ่นใสขาวขุ่น : แผ่นเดียว ก็ขาย วัดโปรดเกษ แ […]

วัดโปรดเกษ แผ่นใส ขาวขุ่น

วัดโปรดเกษ แผ่นใส ขาวขุ่น : แผ่นเดียว ก็ขาย วัดโปรดเกษ […]

Call Now Button